การสู่ขอ ในงานแต่งงานไทย
ผู้ที่ได้รับมอบหมาย ให้ทำหน้าที่ไปเจรจาสู่ขอ ตามธรรมเนียมประเพณีเรียกว่า “ เฒ่าแก่ ” ซึ่งส่วนใหญ่ จะเป็นผู้มีฐานะดี มีผู้ให้ความเคารพนับถือ และรู้จักพ่อแม่หรือผู้ปกครอง ของทั้งฝ่ายชาย และฝ่ายหญิงเป็นอย่างดี รวมทั้งรู้จักอุปนิสัยใจคอของฝ่ายชาย ที่ตนจะเป็นตัวแทนไปสู่ขอด้วยเพราะ ตัวเฒ่าแก่จะต้องเป็นผู้รับรองนิสัย ความประพฤติ ฐานะทางการงาน ฯลฯ ให้แก่ฝ่ายชาย

พิธีมงคลสมรส ( งานแต่งงาน ) และบทความเกี่ยวเนื่อง
- การสู่ขอในงานแต่งงานแบบไทยๆ
- พิธีการสู่ขอขั้นตอนและพิธีการ
- พิธีการสู่ขอในวรรณคดีไทย
- พิธีการสู่ขอในวรรณคดีไทย ( ต่อ )
- การแจ้งข่าวผลการสู่ขอ
- การปลูกเรือนหอ
- พิธีหมั้น
- การยกขันหมากหมั้น
- การนับสินสอดของหมั้น
- ฤกษ์ยามเกี่ยวกับการแต่งงาน
- ฤกษ์วันแต่ง
- พิธียกขันหมาก
- การจัดขันหมากเอกและขันหมากโท
- การขุดต้นกล้วย ต้นอ้อย สำหรับให้คู่บ่าวสาว ใช้ปลูกร่วมกัน
- ขนมในขบวนขันหมาก
- ผลไม้ในขบวนขันหมาก
- การเคลื่อนขบวนขันหมาก
- การจัดขบวนขันหมาก
- ของที่อยู่ในขันหมากโท
- เริ่มเคลื่อนขบวนขันหมาก
- พานรับขันหมาก
- การปิดประตูขันหมาก
- ถอดรองเท้าเรียกค่าไถ่
- การตรวจนับขันหมาก
- การไหว้ผี
- พิธีรับไหว้
- พิธีร่วมทำบุญตักบาตรของคู่บ่าวสาว
- พิธีรดน้ำสังข์ พิธีเจิม
- ความเป็นมาของหอยสังข์ที่นำมาใช้นำพิธีการแต่งงาน
- ขั้นตอนในการทำพิธีรดน้ำี์สังข์
- การกินเลี้ยงฉลองพิธีมงคลสมรส
- พิธีปูที่นอนและส่งตัวเจ้าสาว
- การส่งตัวเจ้าสาวไทย
- การนอนเฝ้าหอในงานแต่งงานแบบไทย
- หลักการครองเรือนแบบไทย น่ารู้
- สรุปขั้นตอนที่สำคัญในพิธี งานแต่งงานแบบไทยๆ
- งานแต่งงาน คนไทย คนดัง ในปัจจุบัน
- ชุดแต่งงานและพิธีการ ในงานแต่งงานของเจ้าหญิงประเทศต่างๆ และคนดังทั่วโลก
แหล่งอ้างอิง: จากหนังสือ : ประเพณี พิธีมงคล วันสำคํญของไทย ของ คุณกิติ ธนิกุล